ข นตอนการย นภาษ ม ลค าเพ ม ภ.พ.30

ภาษีขาย (บาท) 1,000 ภาษีซื้อ 1,750 ภาษีที่ต้องชำระ 0 ภาษีที่ชำระไว้เกิน (750) เงินเพิ่ม มาตรา 89/1 ไม่มี เบี้ยปรับ มาตรา 89(2) ไม่มี

2. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 เมื่อพ้นกำหนดเวลา ซึ่งผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องรับผิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด

2.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ

แบบ ภ.พ. 30ความถูกต้องผลต่าง ภาษีขาย (บาท)1,0001,600600<— ขายขาดภาษีซื้อ 750400(350)<— ซื้อเกินภาษีที่ต้องชำระ2501,200950<— คลาดเคลื่อนภาษีชำระไว้เกินยกมา(70)(70)0 ภาษีต้องชำระสุทธิ1801,130 950 เงินเพิ่มมาตรา 89/1 950 X 1.5% ต่อเดือนเบี้ยปรับมาตรา 89(2) 950 X 2 เท่า มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 600 X 1 เท่า มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน 350 X 1 เท่า

ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท

เงินเพิ่มคิดจาก ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน) กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 51 คิดจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20%

กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา)

เงินเพิ่มคิดจาก

ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

ค่าปรับแบบ

- ยื่นภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 7) แบบละ 100 บาท กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 50 หรือ 51 = 1,000 บาท - ถ้าเกิน 7 วันขึ้นไป แบบละ 200 บาท กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 50, 51 = 2,000 บาท

การคิดเบี้ยปรับ เงินเพิ่มในการยื่น ภ.พ. 30

กรณียื่นเพิ่มเติม (ยื่นปกติครั้งแรกภายในกำหนดเวลา)

เงินเพิ่มคิดจาก

ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน) กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 51 คิดจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20%

ค่าปรับแบบ

ภาษีขาย x (อัตรา %)

กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา) (ยื่นเพิ่มเติมแต่ยื่นปกติครั้งแรกเกินกำหนดเวลา)

เงินเพิ่มคิดจาก

ยอดที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

ค่าปรับแบบ

ยอดที่ต้องชำระ x (อัตรา %) x 2 เท่า

ค่าปรับแบบ

ยื่นแบบภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 15) 300 บาท ถ้าเกิน 7 วันขึ้นไป 500 บาท

ไปแล้ว ซึ่งหนึ่งในนั้นมีประ เภทภาษีที่ผู้ประกอบการจะต้องให้ความสำคัญ โดยเฉพาะกิจการที่เกี่ยวกับการซื้อขายและบริการ นั่น คือ ภาษี มูลค่าเพิ่ม หรือ VAT เพราะตามกฎหมายแล้ว ไม่ว่าจะเป็นบริษัทเล็กหรือใหญ่ เป็นบุคคล ธรรมดาหรือนิติบุคคล หากมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี บริษัทจะต้องนำส่ง ภาษีนี้ให้กับกรม สรรพากรในเวลาที่กำหนด

ประกอบด้วย ภาษีซื้อ ภาษีขาย และใช้ ภ.พ.30 ในการยื่นภาษี ฟังแล้วดูซับซ้อน แต่จะดีกว่ามั้ยถ้าเรื่องภาษีที่เป็นเรื่องยุ่งยาก สามารถทำได้ง่ายๆด้วย NEXcloud ERP ระบบบริหารจัดการธุรกิจที่จะช่วยอำนวยความสะดวก ย่นระยะเวลาในการจัดการเอกสารและจัดการได้อย่างถูกต้องตามหลักของกรมสรรพากร

ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร?

ภาษี มูลค่าเพิ่ม หรือ Value Added Tax หรือเรียกย่อๆ ว่า VAT เป็นการเก็บภาษีจากการขายสินค้าหรือ การให้บริการ ในปัจจุบันอัตราภาษีอยู่ที่ 7% หรือที่เรามักจะคุ้นชินกับว่า VAT 7% นั่นเอง และไม่ใช่แค่ประเทศไทยที่มีการเก็บภาษี มูลค่าเพิ่ม แต่ประเทศอื่น ๆ ก็มีการเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มเช่นกัน ในอัตราภาษีที่แตกต่างกันไป

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม

สูตรการคำนวณภาษี มูลค่าเพิ่ม คือ “ราคาสินค้าหรือบริการ x 7% = ภาษี มูลค่าเพิ่ม” เช่น ราคาสินค้า 500 บาท เมื่อคิด VAT จะเท่ากับ 500×7% = 35 บาท ซึ่งภาษีนี้บริษัทจะต้องนำส่งให้กับสรรพากรในทุกๆ เดือน ดังนั้นในการตั้งราคาขายหรือบริการ จะต้องคำนึงถึงการคิด VAT ให้ถี่ถ้วนเสมอ และควรจะต้องสื่อสารกับลูกค้าให้ชัดเจน

ข นตอนการย นภาษ ม ลค าเพ ม ภ.พ.30

การคำนวณภาษี มูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่งกรมสรรพากร

ภาษี มูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่ง = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ

ทุกบริษัทต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มหรือเปล่า?

ตามกฎหมาย ผู้ประกอบการที่มีรายได้มากกว่า 1.8 ล้านต่อปี จะต้องจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม และนำส่งภาษีให้กรมสรรพากร

หน้าที่ของผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

1.เรียกเก็บภาษี มูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ

2.ออกใบกำกับภาษี

3.จัดทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งรายงานภาษีซื้อและรายงานภาษีขาย

4.ยื่นแบบแสดงรายการภาษี มูลค่าเพิ่ม หรือ ภ.พ.30

วิธีการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม สามารถดูได้ที่ https://www.rd.go.th/7058.html

ในการยื่นภาษี มูลค่าเพิ่ม จะต้องยื่นแบบ ภ.พ. 30 ซึ่งก็คือ แบบแสดงรายการสำหรับผู้ประกอบการซึ่ง จดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มแล้ว และเป็นผู้ประกอบการที่ต้องเสียภาษี โดยคำนวณจากภาษีขายหักด้วย ภาษีซื้อในแต่ละเดือนภาษี หรือก็คือแบบแสดงรายงานในการนำยอดของภาษีซื้อและภาษีขายที่รวบรวม จัดทำรายงานภาษีซื้อภาษีขายมาแสดงเปรียบเทียบกันในแบบฟอร์มนี้เพื่อประเมินว่าในเดือนภาษีนั้น บริษัทต้องชำระภาษี มูลค่าเพิ่ม หรือสามารถขอคืนได้นั่นเอง

ภาษีขายคืออะไร

ภาษีขาย หรือ Output Tax คือ ภาษี มูลค่าเพิ่ม ที่เกิดขึ้นจากการที่เรา (ซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม ตามที่กล่าวไปข้างต้น) ได้ทำการเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในอัตรา 7% ของสินค้าและบริการนั้น ๆ ซึ่งจะต้องนำส่งสรรพากรทุกเดือน และมีข้อกำหนดว่าภาษีขายที่เกิดขึ้นใน เดือนไหนให้ถือเป็นภาษีขายของเดือนนั้น ๆ

ข นตอนการย นภาษ ม ลค าเพ ม ภ.พ.30

รายงานภาษีขาย

รายงานภาษีขาย คือ รายงานที่บันทึกรายละเอียดรายการภาษีขายของกิจการที่เรียกเก็บจากลูกค้า ในแต่ละเดือน โดยต้องบันทึกรายการตามหลักฐานสำเนาใบกำกับภาษีที่ออกให้ลูกค้าในเดือนนั้น มีข้อ กำหนดว่าภาษีขายเกิดจากเดือนใดจะต้องบันทึกลงในเดือนนั้นเท่านั้น

ภาษีซื้อคืออะไร

ภาษีซื้อ หรือ Input Tax คือ ภาษี มูลค่าเพิ่มที่เกิดจากการซื้อหรือใช้บริการกิจการที่จดทะเบียนเข้าสู่ระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากพูดง่าย ๆ ก็คือ กรณีที่เรากลับกลายมาเป็นผู้ซื้อ การที่เราไปซื้อ/ใช้บริการกับกิจการ ที่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม เราก็ต้องจ่าย VAT 7% เช่นเดียวกัน ภาษีซื้อจะมีความ สำคัญตรงที่ บริษัทสามารถขอคืนได้ โดยวิธีการ คือ นำภาษีซื้อมาหักจากภาษีขาย จะได้ภาษี มูลค่าเพิ่ม สุทธิที่ใช้ส่งให้แก่กรมสรรพากร

ข นตอนการย นภาษ ม ลค าเพ ม ภ.พ.30

รายงานภาษีซื้อ

รายงานภาษีซื้อ คือ รายงานที่ทำขึ้นเพื่อบันทึกรายงานภาษีซื้อเฉพาะรายการที่ซื้อหรือใช้บริการ และมีหลักฐานตามที่กำหนดไว้ในประมวลรัษฎากร เช่น ใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ หรือใบเสร็จรับเงิน โดยภาษีซื้อที่เกิดขึ้นในเดือนใดให้บันทึกเป็นรายการภาษีซื้อในเดือนนั้น แต่หากมีเหตุจำเป็น ไม่ สามารถลงรายการภายในเดือนได้ บริษัทสามารถลงรายการภาษีซื้อได้ในเดือนถัดไปแต่ไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่เดือนที่ออกใบกำกับภาษี

ระบบ ERP ทำรายงานภาษีซื้อ/ขาย ได้อัตโนมัติ

ในปัจจุบันมีระบบที่สามารถจัดการงานภาษีมูลค่าเพิ่มได้ง่ายขึ้นกว่าเดิมและไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อนอีกต่อ ไป นั่นก็คือระบบ ERP สามารถจัดการได้ตั้งแต่การออกใบกำกับภาษี การบันทึกบัญชี การทำรายงาน ภาษีอัตโนมัติโดยรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการเปิดใบกำกับภาษีขาย เป็นต้น อีกทั้งยังถูกต้องตรง ตามรูปแบบที่กรมสรรพากรกำหนด ช่วยให้ประหยัดเวลา ลดความซ้ำซ้อนในการทำงานและทำงานได้ อย่างถูกต้อง แม่นยำอีกด้วย

ข นตอนการย นภาษ ม ลค าเพ ม ภ.พ.30

NEXcloud ERP ระบบบริหารธุรกิจคลาวด์ ERP มีฟังก์ชันที่ตอบโจทย์ธุรกิจไทย ตั้งแต่ขนาดเล็ก-ขนาด กลาง ด้วยโปรแกรมระบบภาษี ที่ช่วยในการจัดทำรายงานภาษีได้อย่างถูกต้องตามหลักของกรมสรร พากร ซึ่งประกอบ ไปด้วยรายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย รายงานหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามฉบับ มาตรฐาน ภ.ง.ด 3 และ ภ.ง.ด 53 ควบคุมภาษีระหว่างเดือน บันทึกภาษีแบบอัตโนมัติ พร้อมทั้งรองรับ การยื่นชำระภาษีแบบออนไลน์ หรือ E-filing ตามเงื่อนไขที่กรมสรรพากรได้ยอมรับแล้วว่าถูกต้องและ ครบถ้วน